SECSICMU
หน้าหลัก
ที่มาของโครงการ
โครงการ
ปีที่ 1
Zone ภาคเหนือ
ปีที่ 2
Zone ภาคเหนือ
Zone ภาคอีสาน
Zone ภาคใต้
คณะทำงาน
กิจกรรม
ส่งรายงานความก้าวหน้า
Dashboard
สื่อเผยแพร่
Ebook สรุปผลการดำเนินงาน SECSI ปีที่ 2
Ebook SOP โรงพยาบาลสนามเชียงใหม่
สื่อสิ่งพิมพ์
วีดีทัศน์ / คลิป
สื่อวิทยุ
เพลง
Presentations
รายงานฉบับสมบูรณ์
คู่มือ / โปรแกรม / รูปแบบ
ใบประกาศร่วมงาน SECSI ปี 3
ติดต่อ
ข้อเสนอโครงการ ปีที่ 2 Zone ภาคใต้
หน้าหลัก
/
ข้อเสนอโครงการ ปีที่ 2 Zone ภาคใต้
ข้อเสนอโครงการ ปีที่ 2 Zone ภาคใต้
ลำดับที่
ชื่อโครงการ
ผู้รับผิดชอบ / หน่วยงาน
รอบที่
infographic
Video
1
ชุดโครงการที่ 1 การพัฒนาระบบการป้องกันอุบัติเหตุโดยมีชุมชนเป็นฐาน : แบบบูรณาการเชิงพื้นที่
นายแพทย์เดชา แซ่หลี โรงพยาบาลเทพา
1
2
โครงการย่อยที่ 1.1 การพัฒนาระบบการป้องกันอุบัติเหตุโดยมีชุมชนเป็นฐาน: กรณีศึกษาจังหวัดภูเก็ต
นายแพทย์ ชูชาติ นิจวัฒนา โรงพยาบาลฉลอง
1
3
โครงการย่อยที่ 1.2 การพัฒนาระบบการป้องกันอุบัติเหตุโดยมีชุมชนเป็นฐาน: กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา
นายแพทย์เดชา แซ่หลี โรงพยาบาลเทพา
1
4
โครงการย่อยที่ 1.3 การพัฒนาระบบการป้องกันอุบัติเหตุโดยมีชุมชนเป็นฐาน: กรณีศึกษาจังหวัดนราธิวาส
นายฮิชาม อาแว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
1
5
ชุดโครงการที่ 2 การพัฒนาต้นแบบหลักสูตรและระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางทะเล
รองศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
6
ชุดโครงการที่ 3 การพัฒนาช่องทางพิเศษในการเข้าถึงบริการและยกระดับศักยภาพเพื่อเสริมระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพชายแดนใต้
นายแพทย์รุซตา สาและ โรงพยาบาลปัตตานี
1
7
โครงการย่อยที่ 3.1 การพัฒนานวัตกรรม EMSPlus บนแพลตฟอร์มออนไลน์ สำหรับการแจ้งรายละเอียดของผู้ป่วยภาวะจำเป็นเร่งด่วน และเสริมระบบ จัดการภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพในพื้นที่ชายแดนใต้
รศ.ดร.ประณีต ส่งวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
8
โครงการย่อยที่ 3.2 การยกระดับศักยภาพในการปฏิบัติการฉุกเฉินของหน่วย ปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูงในพื้นที่ชายแดนใต้
ดร.ภัคณัส วีรขจร วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา
1
9
ชุดโครงการที่ 4 การพัฒนาระบบการดูแลภาวะฉุกเฉินในผู้สูงอายุอย่างครบวงจรในพื้นที่ภาคใต้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัพณา กิจรุ่งโรจน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
10
โครงการย่อยที่ 4.1 การพัฒนาระบบสนับสนุนการช่วยฟื้นคืนชีพผู้สูงอายุสำหรับผู้ดูแลในชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประดิษฐ์พร พงศ์เตรียง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
1
11
โครงการย่อยที่ 4.2 การพัฒนานวัตกรรมการจัดการตนเองโดยผสมผสานเทคโนโลยีบริการสุขภาพทางไกลในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทรา พรหมน้อย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
12
โครงการย่อยที่ 4.3 การพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลัพณา กิจรุ่งโรจน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
13
โครงการย่อยที่ 4.4 การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายและการดูแลต่อเนื่องโดยทีมสหวิชาชีพสำหรับผู้ป่วยสูงอายุหลังจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. หทัยรัตน์ แสงจันทร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
14
โครงการย่อยที่ 4.5 โปรแกรมการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพในระยะเปลี่ยนผ่านเพื่อลดการเข้ารับการรักษาซ้ำในแผนกฉุกเฉินของผู้สูงอายุที่มีภาวะหายใจลำบาก
รศ.ดร.ประณีต ส่งวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
15
โครงการย่อยที่ 4.6 การพัฒนารูปแบบบริการสุขภาพในการสร้างกระบวนการกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนสำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในวิถีใหม่ (New normal) ด้วยเทคโนโลยีการให้คำปรึกษาออนไลน์ (Tele-consultatio
แพทย์หญิงพัชรี พุทธชาติ โรงพยาบาลสงขลา
1
16
ชุดโครงการที่ 5 การพัฒนาคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของการจัดการภาวะฉุกเฉินแบบมุ่งเป้าเฉพาะโรค
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จินตนา ดำเกลี้ยง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
17
โครงการย่อย 5.1 การพัฒนาระบบการดูแลผู้บาดเจ็บรุนแรงหลายระบบในภาวะวิกฤตและส่งต่อมายังโรงพยาบาลศูนย์ภาคใต้
นางสหัธยา แก้วพิบูลย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
1
18
โครงการย่อย 5.2 การพัฒนารูปแบบการดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงหลายระบบจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน
อาจารย์ ดร.เกสร พรมเหล็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
19
โครงการย่อย 5.3 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจในกลุ่มผู้ป่วย NCDs และการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล: เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
นางสาวมลฑา อินกะโผะ โรงพยาบาลเทพา
1
20
โครงการย่อย 5.4 การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน
นางสาวพัชรี พร้อมมูล โรงพยาบาลหาดใหญ่
1
21
โครงการย่อย 5.5 การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดทุกระยะของการดูแล ตั้งแต่ระยะก่อนถึงโรงพยาบาล ในโรงพยาบาล และกลับสู่ชุมชน
นางอรอุมา มะกรูดทอง งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลหาดใหญ่
1
22
ชุดโครงการที่ 6 การพัฒนาสมรรถนะ มาตรฐาน และระบบการจัดการดูแลแบบชุมชนเป็นฐานเพื่อเตรียมความพร้อมและรับมือในภาวะฉุกเฉินจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 ในพื้นที่เสี่ยง
ดร.วริศรา โสรัจจ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
1
23
โครงการย่อยที่ 6.1 Smart First Responder (Prevention and Preparedness)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีนุช พุ่มมณี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
24
โครงการย่อยที่ 6.2 Smart Standard of Practices (SOPs) and Smart Tools
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีนุช พุ่มมณี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
25
โครงการย่อยที่ 6.3 Smart Referral System: การพัฒนาระบบเตรียมความพร้อม เฝ้าระวัง และตอบสนองเมื่อเกิดเหตุการระบาดซ้ำของ COVID-19 (Surviellance Preparedness and Response Team: SPRT)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุติวรรณ ปุรินทราภิบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1
26
โครงการย่อยที่ 6.4 Smart Tracking System: การพัฒนาระบบการติดตามและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้ออย่างครบวงจร
นายแพทย์อนุรักษ์ สารภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
1